หมวดที่ 3
หมวด/ตัวชี้วัด | หลักฐาน/การเก็บข้อมูล | คะแนน | ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมิน |
หมวดที่ 3 การใช้ทรัพยากรและพลังงาน (15 คะแนน) | 14.50 | ||
3.1.1 มาตรการหรือแนวทางใช้น้ำมีความเหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบไปด้วย รายละเอียดดังนี้ |
หลักฐาน : |
การกำหนดมาตรการลดใช้ทรัพยากรและพลังงานต่าง ๆ ต้องสื่อสารให้พนักงานได้รับทราบอย่างทั่วถึง จัดกิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วมของพนักงานในการเสนอมาตรการหรือไอเดียที่ช่วยลดการใช้ทรัพยากรและพลังงาน และติดตามการมีส่วนร่วมของพนักงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความตระหนักรู้และร่วมกันปฏิบัติให้เป็นไปตามเป้าหมาย โดยเก็บรวบรวมหลักฐานการปฏิบัติตามมาตรการ อาทิ ภาพประกอบ | |
1. การสร้างความตระหนักในการใช้น้ำ |
สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ได้กำหนดมาตรการการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับบริบทของสำนักงาน โดยครอบคลุมทั้ง 4 ด้านตามเกณฑ์สำนักงานสีเขียว ได้แก่ 1) การสร้างความตระหนักผ่านการจัดทำป้ายรณรงค์และการประชาสัมพันธ์ 2) การกำหนดเวลาการใช้น้ำอย่างเหมาะสม เช่น การรดน้ำต้นไม้ในช่วงเวลา 7.00-8.00 น. วันเว้นวัน 3) การนำน้ำกลับมาใช้ใหม่โดยการติดตั้งอุปกรณ์รับน้ำจากระบบปรับอากาศเพื่อรดน้ำต้นไม้ และ 4) การวางแผนปรับเปลี่ยนสุขภัณฑ์และอุปกรณ์เป็นแบบประหยัดน้ำ นอกจากนี้ ยังมีมาตรการเสริมด้านการบำรุงรักษาและการรายงานปัญหาอย่างรวดเร็วผ่านช่องทางออนไลน์ เพื่อให้การใช้น้ำเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด |
||
2. การกำหนดเวลาการใช้น้ำ เช่น เวลารดน้ำต้นไม้ เป็นต้น | |||
3. การกำหนดรูปแบบการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ | |||
4. การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดน้ำ | |||
3.1.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย |
หลักฐาน : |
การสรุปและวิเคราะห์ผลการใช้ทรัพยากรและพลังงานเทียบกับเป้าหมายที่กำหนด เมื่อทราบสาเหตุของการบรรลุหรือไม่บรรลุเป้าหมายแล้ว ควรกำหนดแนวทางปรับปรุงแก้ไขกรณีที่ไม่บรรลุเป้าหมาย เพื่อนำไปสู่การพิจารณาทบทวนแนวทางปฏิบัติ มาตรการ เป้าหมาย รวมไปถึงกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความยั่งยืน และต่อเนื่องเหมาะสมในการดำเนินงานในระยะต่อไป | |
การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย |
สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ได้ดำเนินการเก็บข้อมูลการใช้น้ำรายเดือนและปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย พร้อมทั้งเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ตั้งไว้ พบว่า การลดการใช้น้ำบรรลุตามเป้าหมาย โดยเฉลี่ยลดลงร้อยละ 61.02 ซึ่งเกินกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ร้อยละ 1 สาเหตุที่ทำให้บรรลุเป้าหมายมาจากการสร้างความตระหนักในการประหยัดน้ำอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการบำรุงรักษาอุปกรณ์และระบบท่อน้ำให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การซ่อมแซมท่อน้ำประปาในอาคารและการเปลี่ยนก๊อกน้ำเป็นระบบเซนเซอร์เพื่อลดการใช้น้ำ อย่างไรก็ตาม ในปี 2565 ปัจจัยภายนอก เช่น การเรียนการสอนออนไลน์และการลดจำนวนบุคลากรที่เข้ามาปฏิบัติงานในพื้นที่ อันเนื่องมาจากสถานการณ์โควิด-19 ส่งผลให้การใช้น้ำในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเทียบกับปี 2566 ที่มีการกลับมาใช้งานตามปกติ |
||
1. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน | |||
2. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย | |||
3. บรรลุเป้าหมาย | |||
4. สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง | |||
การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย | |||
1. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน | |||
2. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย | |||
3. มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข | |||
หมายเหตุ การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วย เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนพนักงาน หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น | |||
3.1.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดน้ำในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่) |
หลักฐาน : |
||
สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 คณะได้สุ่มตรวจสอบห้องน้ำจำนวน 7 ห้องที่มีการใช้งาน พบว่ามีการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดน้ำครบถ้วน 100% |
|||
3.2 การใช้พลังงาน | |||
3.2.1 มาตรการหรือแนวทางการใช้ไฟฟ้าเหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบไปด้วย รายละเอียดดังนี้ |
หลักฐาน :
|
||
1. การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า |
สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ได้ดำเนินการตามมาตรการและแนวทางการใช้ไฟฟ้าอย่างเหมาะสม โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า คณะได้รณรงค์สร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้าผ่านการจัดทำสติ๊กเกอร์ประชาสัมพันธ์และแนะนำการประหยัดไฟในจุดต่าง ๆ ภายในอาคาร 2. การกำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า มีการกำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า เช่น การเปิด-ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้า การตั้งระบบประหยัดพลังงาน และการตรวจสอบการใช้งานเครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นระยะ 3. การใช้พลังงานทดแทน คณะได้ติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์จำนวน 2 ระบบ คือ ระบบ Polycrystalline silicon ขนาด 3.12 kW และระบบ Thin film silicon ขนาด 4.64 kW รวมถึงการใช้โคมไฟแบบโซล่าเซลล์ภายนอกอาคาร 4. การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า คณะได้เปลี่ยนหลอดไฟเป็นหลอด LED และติดตั้งสวิตช์ไฟแบบกระตุกเฉพาะจุด รวมถึงการติดตั้งเซ็นเซอร์ตรวจจับการเคลื่อนไหว (Occupancy sensor) และเซ็นเซอร์วัดแสง (Photo sensor) บริเวณทางเดิน ห้องน้ำ และที่จอดรถเพื่อประหยัดพลังงาน |
||
2. การกำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า เช่น เวลาการ เปิด-ปิด เป็นต้น | |||
3. การใช้พลังงานทดแทน | |||
4. การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า | |||
3.2.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย |
หลักฐาน : |
||
การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย |
สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ได้เก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้ารายเดือนและปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย พร้อมทั้งเปรียบเทียบกับเป้าหมาย พบว่าการลดการใช้ไฟฟ้าลดลงเฉลี่ย 49.58% ซึ่งเกินกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ที่ 0.5% สาเหตุที่ทำให้บรรลุเป้าหมายมาจากการสร้างความตระหนักในการประหยัดพลังงานไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการปรับปรุงคุณภาพอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น การเปลี่ยนหลอดไฟเป็นหลอด LED การทำความสะอาดหลอดไฟ และการติดตั้งโคมไฟสนามแบบโซล่าเซลล์ อย่างไรก็ตาม ในปี 2565 มีปัจจัยภายนอก เช่น การเรียนการสอนออนไลน์และการลดจำนวนบุคลากรที่เข้ามาปฏิบัติงานอันเนื่องมาจากสถานการณ์โควิด-19 ส่งผลให้การใช้ไฟฟ้าในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเทียบกับปี 2566 ที่สถานการณ์เป็นปกติ มีการใช้งานในพื้นที่เพิ่มขึ้น เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง คณะฯ ได้วางแผนการรณรงค์การประหยัดพลังงานอย่างเข้มข้นขึ้น พร้อมทั้งการปรับเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศที่เสื่อมสภาพ และเปลี่ยนหลอดไฟเป็นหลอด LED ทั่วทั้งอาคาร รวมถึงเพิ่มการใช้พลังงานทดแทน |
||
1. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน | |||
2. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย | |||
3. บรรลุเป้าหมาย | |||
4. สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง | |||
การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย | |||
1. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน | |||
2. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย | |||
3. มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข | |||
หมายเหตุ การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วย เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนพนักงาน หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น | |||
3.2.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าในพื้นที่ทำงาน |
หลักฐาน : |
||
สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2566 คณะได้สุ่มตรวจสอบห้องเรียน จํานวน 5 ห้อง ห้องพักอาจารย์ จํานวน 1 ห้อง และห้องประชุม จํานวน 2 ห้อง ที่มีการใช้งาน พบว่า มีการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าครบถ้วน 100% |
|||
3.2.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน ดำเนินการดังนี้ |
หลักฐาน : |
||
1. การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ |
สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ได้ดำเนินการตามมาตรการและแนวทางการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน ดังนี้ 1. การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ปรับรูปแบบการประชุมเป็นการประชุมออนไลน์เพื่อลดการเดินทาง และเพิ่มการติดต่อประสานงานผ่านช่องทางออนไลน์ 2. การวางแผนการเดินทาง มีการสำรวจเส้นทางก่อนการเดินทาง และส่งเสริมการเดินทางร่วมกันเพื่อลดการใช้รถยนต์ส่วนตัวและลดการใช้พลังงาน 3. การซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ ตรวจสอบสภาพทั่วไปของยานพาหนะและเช็คลมยางเป็นประจำเพื่อให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ 4. การใช้จักรยานหรือขนส่งสาธารณะมาทำงาน คณาจารย์และบุคลากรใช้จักรยานหรือขนส่งสาธารณะในการเดินทางมาทำงานและระหว่างส่วนงานภายใน |
||
2. การวางแผนการเดินทาง | |||
3. การซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ | |||
4. การใช้จักรยานหรือขนส่งสาธารณะมาทำงาน | |||
3.2.5 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย |
หลักฐาน : |
เสนอแนะให้พิจารณาการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อระยะทางแยกแต่ละคัน (กม./ลิตร) จะทำให้ทราบประสิทธิภาพการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงของรถยนต์แต่ละคันได้ชัดเจนขึ้น | |
การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย |
สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ได้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงรายเดือนและต่อหน่วย โดยแบ่งเป็นน้ำมันเบนซินและน้ำมันดีเซล ผลการดำเนินงานพบว่า ปริมาณการใช้น้ำมันเบนซินต่อจำนวนพนักงานลดลงเฉลี่ย 0.05 ลิตร หรือคิดเป็น 61.37% ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายการลดการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง อย่างไรก็ตาม ปริมาณการใช้น้ำมันดีเซลต่อจำนวนพนักงานเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 0.65 ลิตร หรือ 120.15% ไม่เป็นไปตามเป้าหมายการลดการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงที่ตั้งไว้ เนื่องจากในปี 2566 คณาจารย์และบุคลากรกลับมาปฏิบัติงานเต็มรูปแบบและมีการใช้รถตู้สำหรับกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้นตามนโยบายการเดินทางร่วมกัน
|
||
1. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน | |||
2. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย | |||
3. บรรลุเป้าหมาย | |||
4. สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง | |||
การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย | |||
1. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน | |||
2. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย | |||
3. มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข | |||
หมายเหตุ การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วย เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนพนักงาน หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น | |||
3.3 การใช้ทรัพยากรอื่นๆ | |||
3.3.1 มาตรการหรือแนวทางการใช้กระดาษที่เหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบไปด้วย รายละเอียดดังนี้ |
หลักฐาน : |
||
1. การสร้างความตระหนักในการใช้กระดาษ |
สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ |
||
2. การกำหนดรูปแบบการใช้กระดาษ | |||
3. การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ | |||
4. การนำกระดาษกลับมาใช้ใหม่ | |||
3.3.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย |
หลักฐาน : |
||
การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย |
สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
|
||
1. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน | |||
2. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย | |||
3. บรรลุเป้าหมาย | |||
4. สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง | |||
การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย | |||
1. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน | |||
2. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย | |||
3. มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข | |||
หมายเหตุ การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วย เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนพนักงาน หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น | |||
3.3.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดกระดาษในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่ |
หลักฐาน : |
||
1. การสร้างความตระหนักในการใช้ |
สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ |
||
2. การกำหนดรูปแบบการใช้ | |||
3. การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ | |||
3.2.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน ดำเนินการดังนี้ |
หลักฐาน :
|
||
(1) การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ |
สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ |
||
(2) การวางแผนการเดินทาง |
|||
(3) การซ่อมบารุงดูแลยานพาหนะ |
|||
(4) การใช้จักรยานหรือขนส่งสาธารณะมาทางาน | |||
3.3.5 ร้อยละของการดำเนินตามมาตรการประหยัดการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์สำนักงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)
|
หลักฐาน :
|
||
สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
|
|||
3.4 การประชุมและการจัดนิทรรศการ | |||
3.4.1 ร้อยละของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการส่งข้อมูลเพื่อเตรียมการประชุม ได้แก่ QR code, Email, Social Network, Intranet เป็นต้น (4 คะแนน)
|
หลักฐาน :
|
||
สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ |
|||
3.4.2 การจัดการประชุมและนิทรรศการที่มีการใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้ทรัพยากร-พลังงาน และลดของเสียที่เกิดขึ้น จะต้องดำเนินการดังนี้ |
หลักฐาน :
|
||
1. การจัดเตรียมขนาดห้องประชุม เหมาะสมกับจำนวนผู้เข้าประชุม หรือจัดนิทรรศการ |
สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ |
||
2. ห้องประชุมหรือพื้นที่จัดนิทรรศการไม่มีการตกแต่งด้วยวัสดุที่ย่อยสลายยาก หรือวัสดุที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง | |||
3. การกำหนดแนวทางเลือกสถานที่ภายนอกสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม | |||
4. การจัดเตรียมสื่อที่ใช้ในการประชุม โดยจะต้องลดการใช้กระดาษ หมึกพิมพ์ | |||
5. การจัดเตรียมอาหาร และเครื่องดื่มเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม |