หมวดที่ 3

หมวด/ตัวชี้วัด หลักฐาน/การเก็บข้อมูล คะแนน ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมิน
หมวดที่ 3 การใช้ทรัพยากรและพลังงาน (15 คะแนน) 14.50
3.1.1 มาตรการหรือแนวทางใช้น้ำมีความเหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบไปด้วย รายละเอียดดังนี้ 

ลักฐาน :

การกำหนดมาตรการลดใช้ทรัพยากรและพลังงานต่าง ๆ ต้องสื่อสารให้พนักงานได้รับทราบอย่างทั่วถึง จัดกิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วมของพนักงานในการเสนอมาตรการหรือไอเดียที่ช่วยลดการใช้ทรัพยากรและพลังงาน และติดตามการมีส่วนร่วมของพนักงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความตระหนักรู้และร่วมกันปฏิบัติให้เป็นไปตามเป้าหมาย โดยเก็บรวบรวมหลักฐานการปฏิบัติตามมาตรการ อาทิ ภาพประกอบ
1. การสร้างความตระหนักในการใช้น้ำ

สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ได้กำหนดมาตรการการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับบริบทของสำนักงาน โดยครอบคลุมทั้ง 4 ด้านตามเกณฑ์สำนักงานสีเขียว ได้แก่ 1) การสร้างความตระหนักผ่านการจัดทำป้ายรณรงค์และการประชาสัมพันธ์ 2) การกำหนดเวลาการใช้น้ำอย่างเหมาะสม เช่น การรดน้ำต้นไม้ในช่วงเวลา 7.00-8.00 น. วันเว้นวัน 3) การนำน้ำกลับมาใช้ใหม่โดยการติดตั้งอุปกรณ์รับน้ำจากระบบปรับอากาศเพื่อรดน้ำต้นไม้ และ 4) การวางแผนปรับเปลี่ยนสุขภัณฑ์และอุปกรณ์เป็นแบบประหยัดน้ำ นอกจากนี้ ยังมีมาตรการเสริมด้านการบำรุงรักษาและการรายงานปัญหาอย่างรวดเร็วผ่านช่องทางออนไลน์ เพื่อให้การใช้น้ำเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

2. การกำหนดเวลาการใช้น้ำ เช่น เวลารดน้ำต้นไม้ เป็นต้น
3. การกำหนดรูปแบบการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่
4. การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดน้ำ
3.1.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

ลักฐาน :

การสรุปและวิเคราะห์ผลการใช้ทรัพยากรและพลังงานเทียบกับเป้าหมายที่กำหนด เมื่อทราบสาเหตุของการบรรลุหรือไม่บรรลุเป้าหมายแล้ว ควรกำหนดแนวทางปรับปรุงแก้ไขกรณีที่ไม่บรรลุเป้าหมาย เพื่อนำไปสู่การพิจารณาทบทวนแนวทางปฏิบัติ มาตรการ เป้าหมาย รวมไปถึงกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความยั่งยืน และต่อเนื่องเหมาะสมในการดำเนินงานในระยะต่อไป
การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ได้ดำเนินการเก็บข้อมูลการใช้น้ำรายเดือนและปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย พร้อมทั้งเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ตั้งไว้ พบว่า การลดการใช้น้ำบรรลุตามเป้าหมาย โดยเฉลี่ยลดลงร้อยละ 61.02 ซึ่งเกินกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ร้อยละ 1 สาเหตุที่ทำให้บรรลุเป้าหมายมาจากการสร้างความตระหนักในการประหยัดน้ำอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการบำรุงรักษาอุปกรณ์และระบบท่อน้ำให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การซ่อมแซมท่อน้ำประปาในอาคารและการเปลี่ยนก๊อกน้ำเป็นระบบเซนเซอร์เพื่อลดการใช้น้ำ

อย่างไรก็ตาม ในปี 2565 ปัจจัยภายนอก เช่น การเรียนการสอนออนไลน์และการลดจำนวนบุคลากรที่เข้ามาปฏิบัติงานในพื้นที่ อันเนื่องมาจากสถานการณ์โควิด-19 ส่งผลให้การใช้น้ำในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเทียบกับปี 2566 ที่มีการกลับมาใช้งานตามปกติ

1. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน
2. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย
3. บรรลุเป้าหมาย
4. สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
1. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำแต่ละเดือน
2. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วย
3. มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วย เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนพนักงาน หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น
3.1.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดน้ำในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่) 

ลักฐาน :

สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น

เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2566 คณะได้สุ่มตรวจสอบห้องน้ำจำนวน 7 ห้องที่มีการใช้งาน พบว่ามีการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดน้ำครบถ้วน 100%

3.2 การใช้พลังงาน
3.2.1 มาตรการหรือแนวทางการใช้ไฟฟ้าเหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบไปด้วย รายละเอียดดังนี้ 

ลักฐาน :

1. การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า

สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ได้ดำเนินการตามมาตรการและแนวทางการใช้ไฟฟ้าอย่างเหมาะสม โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า

คณะได้รณรงค์สร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้าผ่านการจัดทำสติ๊กเกอร์ประชาสัมพันธ์และแนะนำการประหยัดไฟในจุดต่าง ๆ ภายในอาคาร

2. การกำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า

มีการกำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า เช่น การเปิด-ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้า การตั้งระบบประหยัดพลังงาน และการตรวจสอบการใช้งานเครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นระยะ

3. การใช้พลังงานทดแทน

คณะได้ติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์จำนวน 2 ระบบ คือ ระบบ Polycrystalline silicon ขนาด 3.12 kW และระบบ Thin film silicon ขนาด 4.64 kW รวมถึงการใช้โคมไฟแบบโซล่าเซลล์ภายนอกอาคาร

4. การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า

คณะได้เปลี่ยนหลอดไฟเป็นหลอด LED และติดตั้งสวิตช์ไฟแบบกระตุกเฉพาะจุด รวมถึงการติดตั้งเซ็นเซอร์ตรวจจับการเคลื่อนไหว (Occupancy sensor) และเซ็นเซอร์วัดแสง (Photo sensor) บริเวณทางเดิน ห้องน้ำ และที่จอดรถเพื่อประหยัดพลังงาน

2. การกำหนดเวลาการใช้ไฟฟ้า เช่น เวลาการ เปิด-ปิด เป็นต้น
3. การใช้พลังงานทดแทน
4. การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า
3.2.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย 

ลักฐาน :

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ได้เก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้ารายเดือนและปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย พร้อมทั้งเปรียบเทียบกับเป้าหมาย พบว่าการลดการใช้ไฟฟ้าลดลงเฉลี่ย 49.58% ซึ่งเกินกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ที่ 0.5% สาเหตุที่ทำให้บรรลุเป้าหมายมาจากการสร้างความตระหนักในการประหยัดพลังงานไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการปรับปรุงคุณภาพอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น การเปลี่ยนหลอดไฟเป็นหลอด LED การทำความสะอาดหลอดไฟ และการติดตั้งโคมไฟสนามแบบโซล่าเซลล์

อย่างไรก็ตาม ในปี 2565 มีปัจจัยภายนอก เช่น การเรียนการสอนออนไลน์และการลดจำนวนบุคลากรที่เข้ามาปฏิบัติงานอันเนื่องมาจากสถานการณ์โควิด-19 ส่งผลให้การใช้ไฟฟ้าในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเทียบกับปี 2566 ที่สถานการณ์เป็นปกติ มีการใช้งานในพื้นที่เพิ่มขึ้น

เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง คณะฯ ได้วางแผนการรณรงค์การประหยัดพลังงานอย่างเข้มข้นขึ้น พร้อมทั้งการปรับเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศที่เสื่อมสภาพ และเปลี่ยนหลอดไฟเป็นหลอด LED ทั่วทั้งอาคาร รวมถึงเพิ่มการใช้พลังงานทดแทน

1. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน
2. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย
3. บรรลุเป้าหมาย
4. สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
1. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าแต่ละเดือน
2. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วย
3. มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วย เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนพนักงาน หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น
3.2.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าในพื้นที่ทำงาน 

ลักฐาน :

สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น

เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2566 คณะได้สุ่มตรวจสอบห้องเรียน จํานวน 5 ห้อง ห้องพักอาจารย์ จํานวน 1 ห้อง และห้องประชุม จํานวน 2 ห้อง ที่มีการใช้งาน พบว่า มีการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าครบถ้วน 100%

3.2.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน ดำเนินการดังนี้ 

หลักฐาน :

1. การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์

สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ได้ดำเนินการตามมาตรการและแนวทางการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน ดังนี้

1. การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์

ปรับรูปแบบการประชุมเป็นการประชุมออนไลน์เพื่อลดการเดินทาง และเพิ่มการติดต่อประสานงานผ่านช่องทางออนไลน์

2. การวางแผนการเดินทาง

มีการสำรวจเส้นทางก่อนการเดินทาง และส่งเสริมการเดินทางร่วมกันเพื่อลดการใช้รถยนต์ส่วนตัวและลดการใช้พลังงาน

3. การซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ

ตรวจสอบสภาพทั่วไปของยานพาหนะและเช็คลมยางเป็นประจำเพื่อให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ

4. การใช้จักรยานหรือขนส่งสาธารณะมาทำงาน

คณาจารย์และบุคลากรใช้จักรยานหรือขนส่งสาธารณะในการเดินทางมาทำงานและระหว่างส่วนงานภายใน

2. การวางแผนการเดินทาง
3. การซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ
4. การใช้จักรยานหรือขนส่งสาธารณะมาทำงาน
3.2.5 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย

ลักฐาน :

เสนอแนะให้พิจารณาการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อระยะทางแยกแต่ละคัน (กม./ลิตร) จะทำให้ทราบประสิทธิภาพการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงของรถยนต์แต่ละคันได้ชัดเจนขึ้น
การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ได้ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงรายเดือนและต่อหน่วย โดยแบ่งเป็นน้ำมันเบนซินและน้ำมันดีเซล ผลการดำเนินงานพบว่า ปริมาณการใช้น้ำมันเบนซินต่อจำนวนพนักงานลดลงเฉลี่ย 0.05 ลิตร หรือคิดเป็น 61.37% ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายการลดการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง

อย่างไรก็ตาม ปริมาณการใช้น้ำมันดีเซลต่อจำนวนพนักงานเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 0.65 ลิตร หรือ 120.15% ไม่เป็นไปตามเป้าหมายการลดการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงที่ตั้งไว้ เนื่องจากในปี 2566 คณาจารย์และบุคลากรกลับมาปฏิบัติงานเต็มรูปแบบและมีการใช้รถตู้สำหรับกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้นตามนโยบายการเดินทางร่วมกัน

 

1. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน
2. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย
3. บรรลุเป้าหมาย
4. สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
1. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่ละเดือน
2. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วย
3. มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วย เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนพนักงาน หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น
3.3 การใช้ทรัพยากรอื่นๆ
3.3.1 มาตรการหรือแนวทางการใช้กระดาษที่เหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบไปด้วย รายละเอียดดังนี้ 

ลักฐาน :

1. การสร้างความตระหนักในการใช้กระดาษ

สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

2. การกำหนดรูปแบบการใช้กระดาษ
3. การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
4. การนำกระดาษกลับมาใช้ใหม่
3.3.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย 

ลักฐาน :

การเก็บข้อมูล กรณีบรรลุเป้าหมาย

สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน
2. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย
3. บรรลุเป้าหมาย
4. สรุปสาเหตุที่นำไปสู่การบรรลุ เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
การเก็บข้อมูล กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย
1. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษแต่ละเดือน
2. มีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้กระดาษต่อหน่วย
3. มีการวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไข
หมายเหตุ การเปรียบเทียบข้อมูลสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมของหน่วย เช่น เปรียบเทียบต่อจำนวนพนักงาน หรือเปรียบเทียบต่อกิจกรรม หรือเปรียบเทียบต่อพื้นที่ เป็นต้น
3.3.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดกระดาษในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่ 

ลักฐาน :

1. การสร้างความตระหนักในการใช้

สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

2. การกำหนดรูปแบบการใช้
3. การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
3.2.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน ดำเนินการดังนี้

ลักฐาน :

  • ร้อย
(1) การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์

สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

(2) การวางแผนการเดินทาง
(3) การซ่อมบารุงดูแลยานพาหนะ
(4) การใช้จักรยานหรือขนส่งสาธารณะมาทางาน

3.3.5 ร้อยละของการดำเนินตามมาตรการประหยัดการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์สำนักงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่) 

 

ลักฐาน :

  • คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

 

3.4 การประชุมและการจัดนิทรรศการ

3.4.1 ร้อยละของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการส่งข้อมูลเพื่อเตรียมการประชุม ได้แก่ QR code, Email, Social Network, Intranet เป็นต้น (4 คะแนน)

 

ลักฐาน :

  • คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

3.4.2 การจัดการประชุมและนิทรรศการที่มีการใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้ทรัพยากร-พลังงาน และลดของเสียที่เกิดขึ้น จะต้องดำเนินการดังนี้ 

ลักฐาน :

  • คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
1. การจัดเตรียมขนาดห้องประชุม เหมาะสมกับจำนวนผู้เข้าประชุม หรือจัดนิทรรศการ

สรุปผลการดำเนินงานเบื้องต้น

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

2. ห้องประชุมหรือพื้นที่จัดนิทรรศการไม่มีการตกแต่งด้วยวัสดุที่ย่อยสลายยาก หรือวัสดุที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง
3. การกำหนดแนวทางเลือกสถานที่ภายนอกสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
4. การจัดเตรียมสื่อที่ใช้ในการประชุม โดยจะต้องลดการใช้กระดาษ หมึกพิมพ์
5. การจัดเตรียมอาหาร และเครื่องดื่มเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save